อาการกลืนเจ็บ
หน้าตา
อาการกลืนเจ็บ (Odynophagia) | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | R07.r |
ICD-9 | 787.20 |
DiseasesDB | 17942 |
อาการกลืนเจ็บ (อังกฤษ: Odynophagia, /oʊ-dɪnˈə-feɪˈjəˌ-jiː-ə/, จาก odyno ซึ่งแปลว่า เจ็บ + -phagō ซึ่งแปลว่า "เมื่อกิน") เป็นความเจ็บปวดเมื่อกิน[1][2] ซึ่งอาจรู้สึกที่ปากหรือคอ และอาจเกิดพร้อมกับการกลืนลำบาก (dysphagia)[3] ความรู้สึกอาจเรียกได้ว่าปวด แสบร้อน หรือเจ็บตุบ ๆ ที่กระจายไปที่หลัง[4]
อาการบ่อยครั้งทำให้น้ำหนักลด และอาจมีเหตุจากสิ่งแวดล้อมหรือพฤติกรรม เช่น
- ทานอาหารหรือดื่มเครื่องดื่มที่ร้อนหรือเย็นจัด
- ทานยาบางอย่าง
- ใช้สารเสพติด สูบบุหรี่ กินเหล้า[3]
- การบาดเจ็บที่ปาก คอ หรือลิ้น[5]
หรืออาจเป็นผลของโรคบางอย่างรวมทั้ง
- แผลเปื่อย
- ฝี
- การติดเชื้อในทางลมหายใจส่วนบน
- การอักเสบหรือการติดเชื้อที่ปาก ลิ้น หรือคอ รวมทั้งหลอดอาหารอักเสบ (esophagitis) คอหอยอักเสบ (pharyngitis) ต่อมทอนซิลอักเสบ (tonsillitis) ฝากล่องเสียงอักเสบ[6]0
- โรคกรดไหลย้อน[7]
- ความผิดปกติของภูมิคุ้มกัน
- มะเร็งปากหรือคอ[8]
เชิงอรรถและอ้างอิง
[แก้]- ↑ "odynophagia". The American Heritage Science Dictionary. Houghton Mifflin Company. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 28 February 2017.
- ↑ "Medical Definition of Odynophagia". MedicineNet. 13 May 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2013. สืบค้นเมื่อ 28 February 2017.
- ↑ 3.0 3.1 Schiff, Bradley A. (January 2016). "Ear, Nose, and Throat Disorders: Oropharyngeal Squamous Cell Carcinoma". Merck Manuals Professional Edition. Merck Sharp & Dohme Corp. สืบค้นเมื่อ 28 February 2017.
- ↑ Wolfson, Allan B, บ.ก. (2005). Harwood-Nuss' Clinical Practice of Emergency Medicine (4th ed.). pp. 307-8. ISBN 0-7817-5125-X.
- ↑ Scully, Crispian (January 2008). "Chapter 14: Soreness and ulcers". Oral and Maxillofacial Medicine: The Basis of Diagnosis and Treatment (2nd ed.). Edinburgh: Churchill Livingstone. pp. 131–139. ISBN 978-0-443-06818-8.
- ↑ "Epiglottitis Symptoms". Mayo Clinic (ภาษาอังกฤษ). Mayo Foundation for Medical Education and Research (MFMER). 8 August 2016. สืบค้นเมื่อ 28 February 2017.
- ↑ Kahrilas, PJ (2008). "Gastroesophageal Reflux Disease". วารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์. 359 (16): 1700–7. doi:10.1056/NEJMcp0804684. PMC 3058591. PMID 18923172.
- ↑ "Search results for: Odynophagial". Merck Manuals Professional Edition. Merck Sharp & Dohme Corp. สืบค้นเมื่อ 28 February 2017.