ข้ามไปเนื้อหา

คริสตียาน เฮยเคินส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คริสตียาน เฮยเคินส์
คริสตียาน เฮยเคินส์ ภาพโดยCaspar Netscher, Museum Boerhaave, ไลเดิน[1]
เกิด14 เมษายน ค.ศ. 1629(1629-04-14)
เดอะเฮก, สาธารณรัฐดัตช์
เสียชีวิต8 กรกฎาคม ค.ศ. 1695(1695-07-08) (66 ปี)
เดอะเฮก, สาธารณรัฐดัตช์
สัญชาติดัตช์
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยไลเดิน
University of Angers
มีชื่อเสียงจากค้นพบดาวไททัน
การอธิบายเรื่องวงแหวนของดาวเสาร์
แรงหนีศูนย์กลาง
สูตรของการชน
Gambler's ruin
นาฬิกาลูกตุ้ม
หลักการของเฮยเคินส์
ทฤษฏีคลื่น
Huygens' engine
การหักเหสองแนว
Evolute
Huygenian eyepiece
31 equal temperament musical tuning
Huygens–Steiner theorem
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาNatural Philosophy
ฟิสิกส์
คณิตศาสตร์
ดาราศาสตร์
Horology
สถาบันที่ทำงานราชสมาคม
French Academy of Sciences
มีอิทธิพลต่อก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์
ไอแซก นิวตัน[2][3]
ได้รับอิทธิพลจากกาลิเลโอ กาลิเลอี
เรอเน เดการ์ต
Frans van Schooten

คริสตียาน เฮยเคินส์ (ดัตช์: Christiaan Huygens, ออกเสียง: [ˈɦœy̆ɣə(n)s]; 14 เมษายน พ.ศ. 2172 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2238) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักฟิสิกส์ และนักประดิษฐ์นาฬิกาชาวดัตช์ เกิดที่เดอะเฮกในเนเธอร์แลนด์ เป็นลูกชายของโกนสตันไตน์ เฮยเคินส์ ชื่อของเขาเป็นที่มาของยานกัสซีนี-เฮยเคินส์ที่ใช้สำรวจดวงจันทร์ไททัน

รายการค้นพบ คิดค้น หรือวิจัย

[แก้]
  • พ.ศ. 2198 ค้นพบไททัน ดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในดาวเสาร์
  • พ.ศ. 2210 ประดิษฐ์นาฬิกาลูกตุ้ม เป็นเรือนแรก
  • พ.ศ. 2202 ตีพิมพ์หนังสือชื่อ "System Saturnium" ซึ่งอธิบายเรื่องเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ตัดระนาบวงแหวนดาวเสาร์ ของโลก

อ้างอิง

[แก้]
  1. The meaning of this painting is explained in Wybe Kuitert "Japanese Robes, Sharawadgi, and the landscape discourse of Sir William Temple and Constantijn Huygens" Garden History, 41, 2: (2013) pp.157-176, Plates II-VI and Garden History, 42, 1: (2014) p.130 ISSN 0307-1243 Online as PDF
  2. I. Bernard Cohen; George E. Smith (25 April 2002). The Cambridge Companion to Newton. Cambridge University Press. p. 69. ISBN 978-0-521-65696-2. สืบค้นเมื่อ 15 May 2013.
  3. Niccolò Guicciardini (2009). Isaac Newton on mathematical certainty and method. MIT Press. p. 344. ISBN 978-0-262-01317-8. สืบค้นเมื่อ 15 May 2013.
  翻译: